Operations for Sustainability

Operations for Sustainability
Operations for Sustainability
Goal
Operate the University in a sustainable manners
การจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
การออกแบบและปรับปรุงภูมิทัศน์
การใช้น้ำอย่างยั่งยืน
การส่งเสริมแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน
การจัดการระบบคมนาคมขนส่ง
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
การเสริมสร้างความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทำงาน
นโยบายส่งเสริมร้านค้าที่มีจรรยาบรรณและผลิตอาหารที่ยั่งยืน
หน่วยงานที่ส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืน
Strategic Goals
วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
1. เพื่อเป็นผู้นำด้านสุขภาวะเชิงนโยบายระดับชาติและนานาชาติที่สามารถชี้นำสังคมได้
2. เพื่อให้มหาวิทยาลัยเป็นเลิศระดับภูมิภาคในด้าน
- ศูนย์บริการวิชาการ (Academic Services Hub)
- ศูนย์บริการสุขภาพ (Medical Services Hub)
- ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ (Wellness Hub)
- ศูนย์ด้านยา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และ เครื่องมือแพทย์ (Medical Product and Device Hub)
Strategic Intiatives
กลยุทธ์
1. สร้างระบบขับเคลื่อนและสนับสนุน Policy Advocacy
2. มุ่งสู่การรับรองมาตรฐานสากลในระบบบริการทุกประเภท
3. สร้างระบบบริหารจัดการเพื่อความเป็นเลิศด้านการบริการวิชาการ
4. Strategic ส่งเสริมและขับเคลื่อนการสร้างศูนย์ด้านบริการต่าง ๆ และศูนย์หรือ Cluster ด้านยาผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องมือแพทย์
5. ขยายศักยภาพและการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพออกไปสู่กลุ่มเป้าหมายระดับนานาชาติ
6. ร่วมกับพันธมิตรในการขับเคลื่อนการพัฒนาบริการ วิจัย นวัตกรรม และผลิตภัณฑ์ใหม่ ตามความต้องการของสังคมที่สามารถถ่ายทอดไปสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์
7. พัฒนากระบวนการที่นำวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี มาบูรณาการเพื่อก่อให้เกิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy)
8. ส่งเสริมความเป็นผู้นำในการสร้างมาตรฐานคุณภาพระดับสากล (Accreditation/Certified Body)
Case Study
  • thumb
    03
    10 ต.ค. 2565
    ปรึกษาสุขภาพใจ...ในมหาวิทยาลัย
    ปัญหาทางด้านสุขภาพใจ เป็นปัญหาที่จัดการได้ ดูแลได้ เมื่อเราเข้าใจ ยอมรับ…เราจะพบทางออกไปด้วยกัน
  • thumb
    02 03 12
    10 ต.ค. 2565
    โรงอาหารมหาวิทยาลัยมหิดล
    มหาวิทยาลัยมีโรงอาหารให้บริการในหลายพื้นที่ เพื่อรองรับความต้องการของนักศึกษา บุคลากรและประชาชนทั่วไป โดยจำหน่ายอาหารที่มีความหลากหลายตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค
  • thumb
    13 07 14
    7 ต.ค. 2565
    เรือไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อส่งเสริมนโยบายการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
    การถ่ายทอดเทคโนโลยีเรือไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ให้กับ อพท. และชุมชนชายฝั่งเกาะหมาก เพื่อใช้เป็นเครื่องมือจัดการท่องเที่ยวและอนุรักษ์ปะการัง เพื่อทดแทนการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงของเรือยนต์ โดยปราศจากการปลดปล่อยคาร์บอน การปนเปื้อนเขม่าจากการเผาไหม้ลงสู่แนวปะการัง และส่งเสริมนโยบายการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
  • thumb
    7 ต.ค. 2565
    MU Green Rankings
    MU Green Rankings ประเมินสถานะการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนของส่วนงานภายในมหาวิทยาลัยมหิดล
  • thumb
    01 08 15
    14 ก.ย. 2565
    โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG)
    โครงการ U2T for BCG จัดสรรบุคลากรที่อยู่ในระหว่างการหางาน หรือกำลังทำงานอยู่ในปัจจุบัน เพื่อช่วยเหลือชุมชนต่างๆ ให้มีการเติบโตและรายได้ที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างยั่งยืน โดยผู้เข้าร่วมในโครงการนี้จะต้องเข้าไปทำงานกับชุมชน “เป็นระยะเวลา 3 เดือน” ผ่านการใช้หลักการ BCG เพื่อเพิ่มรายได้ของแต่ละตำบล นับจากวันเริ่มโครงการจนวันสิ้นสุดโครงการ
  • thumb
    1 ก.ค. 2565
    การบริหารยาเคมีบำบัดทางหลอดเลือดดำส่วนกลางที่บ้าน Ramathibodi Home Chemotherapy Model (RHCM)
    การบริหารยาเคมีบำบัดทางหลอดเลือดดำส่วนกลางที่บ้าน เพิ่มประสิทธิผลการรักษา ลดค่าใช้จ่าย สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับผู้ป่วย ยกระดับระบบการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งของประเทศไทย เพื่อความยั่งยืนทางด้านสุขภาพของประชากรไทย
  • thumb
    30 มิ.ย. 2565
    การเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรค COVID-19 5 ชุมชน หน้าคณะสาธารณสุขศาสตร์ ถอดบทเรียน: Factory Isolation (FAI)
    การเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรค COVID-19 5 ชุมชน หน้าคณะสาธารณสุขศาสตร์ ถอดบทเรียน: Factory Isolation (FAI)
  • thumb
    03 12
    30 มิ.ย. 2565
    ห้องปฏิบัติการประเมินความปลอดภัยทางอาหารและชีวภาพ (การตรวจวิเคราะห์สารตกค้างยาฆ่าแมลง ในผัก ผลไม้)
    คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เริ่มโครงการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย์ “ผักและผลไม้ที่ปลอดภัยเพื่อครัวโลก” มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในการบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากสารตกค้างยาฆ่าแมลง หรือสารกำจัดศัตรูพืช ที่อาจปนเปื้อนอยู่ในผักและผลไม้
  • thumb
    30 มิ.ย. 2565
    โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมในการออกแบบนวัตกรรมถังขยะเพื่อการคัดแยกขยะสำหรับทุกคน
    ที่ผ่านมาผู้พิการทางการเห็นมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะค่อนข้างน้อย อันเนื่องมากจากถังขยะที่ใช้หลักการของสีเป็นตัวแบ่งแยกขยะ ซึ่งเป็นข้อจำกัดยิ่งสำหรับผู้ที่มีความบกพร่องหรือพิการทางการเห็น จึงได้มีการจัดทำโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมในการออกแบบนวัตกรรมถังขยะเพื่อการคัดแยกขยะสำหรับทุกคนเป็นผลผลิตหลัก ซึ่งได้มีการยื่นจดอนุสิทธิบัตรในชื่อ “ระบบการแยกถังขยะด้วยเสียง” ตามหนังสือสำคัญการจดทะเบียนอนุสิทธิบัตร เลขที่ 17547 ออกให้ ณ วันที่ 29 มีนาคม พ.ศ.2564 มีวัตถุประสงค์โครงการ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการทิ้งขยะและปัญหาในการคัดแยกขยะของคนพิการทางการเห็น 2) เพื่อออกแบบนวัตกรรมถังขยะเพื่อการคัดแยกขยะสำหรับทุกคน 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจและพฤติกรรมหลังการใช้นวัตกรรมถังขยะเพื่อการคัดแยกขยะ โครงการนี้เกิดประโยชน์ของโครงการ ดังนี้ 1) ได้นวัตกรรมถังขยะเพื่อการคัดแยกขยะสำหรับทุกคนที่คนพิการทางการเห็นใช้งานได้จริง คัดแยกขยะได้จริงเหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของคนพิการทางการเห็น 2) ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมการทิ้งขยะและปัญหาการคัดแยกขยะของคนพิการทางการเห็น 3) สร้างจิตสำนึกในการคัดแยกขยะให้กับคนพิการทางการเห็น 4) กระตุ้นให้คนทั่วไปเกิดจิตสำนึกในการคัดแยกขยะมากขึ้นเพื่อเห็นตัวอย่างจากการปฏิบัติของคนพิการทางการเห็นที่ยังสามารถคัดแยกขยะได้ 5) เปิดโอกาสให้คนพิการทางการเห็นได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมพัฒนาของสังคมเท่าเทียมกับคนทั่วไป 6) การเผยแพร่ผลการศึกษาในวารสารวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ
  • thumb
    13 07 12
    9 มี.ค. 2565
    คาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร (Carbon Footprint for Organization)
    การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร (Carbon Footprint for Organization) เป็นวิธีการประเภทหนึ่งในการแสดงข้อมูลปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยจากการดำเนินงานขององค์กร
  • thumb
    04
    26 ส.ค. 2565
    หลักสูตรการพัฒนาและคุ้มครองเด็กที่ได้รับประสบการณ์ชีวิตไม่พึงประสงค์
    ดำเนินการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ในหลักสูตร “การพัฒนาและคุ้มครองเด็กที่ได้รับประสบการณ์ที่ไม่พึงประสงค์” โดยเข้าร่วมอบรมผ่านระบบ moodle e - learning ทั้งหมด 16 บทเรียน และมีการพบปะผ่านระบบออนไลน์ zoom application เพื่อให้ผู้ดูแลเด็กในชุมชนและหน่วยบริการเด็กปฐมวัยทุกรูปแบบ ครูและผู้ดูแลเด็กวัยเรียนในโรงเรียนและนอกระบบการศึกษา ผู้ให้บริการสุขภาพในสถานพยาบาล และผู้ทำหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาและคุ้มครองเด็กทุกระดับ เกี่ยวข้อง ผู้นำชุมชน และ ผู้บริหารหน่วยงาน ได้เข้ามาเรียนรู้และนำความรู้ได้รับไปใช้การดำเนินงานต่อไป
  • thumb
    04
    26 ส.ค. 2565
    หลักสูตรผู้ประคอง : การสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดภัย ด้วยการเลี้ยงดูเชิงบวก
    ดำเนินการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ในหลักสูตร “หลักสูตรผู้ประคอง : การสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดภัย ด้วยการเลี้ยงดูเชิงบวก ” โดยเข้าร่วมอบรมผ่านระบบ moodle e - learning ทั้งหมด 3 บทเรียน และมีการพบปะผ่านระบบออนไลน์ zoom application 2 ครั้ง บทที่ 1 ผู้ปกครอง Vs. ผู้ประคอง บทที่ 2 ผู้ประคอง ต้องทำใจ ประมวลสาระ 3 เรื่อง พัฒนาการองค์รวม การทำงานของสมอง 3 ส่วน หลักการสร้างวินัยเชิงบวก บทที่ 3 เครื่องมือประเมินความพร้อมตนเองของ “ ผู้ประคอง ” “ผู้ประคอง”หากผู้ประคองจะไม่คิดแทน ทำแทน และให้โอกาสให้เด็ก ๆ สร้างตัวตน และพัฒนาความรู้สึกนึกคิดตัวเองแล้ว ผู้ประคองต้องให้ความสำคัญกับการฝึกใน และ ใคร่ครวญ ทบทวนสะท้อนคิดถึงการเลี้ยงดูของตนเอง
จำนวนทั้งหมด 38 รายการ