Operations for Sustainability

Operations for Sustainability
Operations for Sustainability
Goal
Operate the University in a sustainable manners
การจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
การออกแบบและปรับปรุงภูมิทัศน์
การใช้น้ำอย่างยั่งยืน
การส่งเสริมแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน
การจัดการระบบคมนาคมขนส่ง
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
การเสริมสร้างความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทำงาน
นโยบายส่งเสริมร้านค้าที่มีจรรยาบรรณและผลิตอาหารที่ยั่งยืน
หน่วยงานที่ส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืน
Strategic Goals
วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
1. เพื่อเป็นผู้นำด้านสุขภาวะเชิงนโยบายระดับชาติและนานาชาติที่สามารถชี้นำสังคมได้
2. เพื่อให้มหาวิทยาลัยเป็นเลิศระดับภูมิภาคในด้าน
- ศูนย์บริการวิชาการ (Academic Services Hub)
- ศูนย์บริการสุขภาพ (Medical Services Hub)
- ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ (Wellness Hub)
- ศูนย์ด้านยา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และ เครื่องมือแพทย์ (Medical Product and Device Hub)
Strategic Intiatives
กลยุทธ์
1. สร้างระบบขับเคลื่อนและสนับสนุน Policy Advocacy
2. มุ่งสู่การรับรองมาตรฐานสากลในระบบบริการทุกประเภท
3. สร้างระบบบริหารจัดการเพื่อความเป็นเลิศด้านการบริการวิชาการ
4. Strategic ส่งเสริมและขับเคลื่อนการสร้างศูนย์ด้านบริการต่าง ๆ และศูนย์หรือ Cluster ด้านยาผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องมือแพทย์
5. ขยายศักยภาพและการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพออกไปสู่กลุ่มเป้าหมายระดับนานาชาติ
6. ร่วมกับพันธมิตรในการขับเคลื่อนการพัฒนาบริการ วิจัย นวัตกรรม และผลิตภัณฑ์ใหม่ ตามความต้องการของสังคมที่สามารถถ่ายทอดไปสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์
7. พัฒนากระบวนการที่นำวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี มาบูรณาการเพื่อก่อให้เกิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy)
8. ส่งเสริมความเป็นผู้นำในการสร้างมาตรฐานคุณภาพระดับสากล (Accreditation/Certified Body)
Case Study
  • thumb
    11 13
    24 ม.ค. 2566
    โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งถือเป็นแกนสำคัญของการพัฒนาและขยายเมือง การพัฒนาเมืองแบบ Transit Oriented Development (TOD)
    โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งถือเป็นแกนสำคัญของการพัฒนาและขยายเมือง การพัฒนาเมืองแบบ Transit Oriented Development (TOD) หรือหนึ่งในแนวคิดการพัฒนาเมืองและชุมชนเมืองควบคู่ไปกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง โดยเน้นการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งสาธารณะที่เป็นศูนย์กลางเชื่อมต่อการเดินทาง มีการกำหนดรูปแบบการใช้ที่ดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อสร้างชุมชนคุณภาพ น่าอยู่อาศัย น่าลงทุนธุรกิจ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมการเดินทาง เข้า-ออกพื้นที่ด้วยระบบขนส่งสาธารณะ และส่งเสริมการเดินทางในพื้นที่ด้วยการเดินทางที่ไม่ใช้เครื่องยนต์ หรือใช้การเดินทางสาธารณะ (1) Concept การบริหารเมืองของ TOD คือ การปรับเปลี่ยนการขยายตัวของเมืองแบบกระจัดการจายให้เป็นเมืองกระชับ ด้วยการพัฒนาพื้นที่อย่างมีขอบเขตและแนวทางซึ่งจะช่วยลดภาวะการเติบโตของเมืองอย่างไร้ทิศทาง Transit Oriented Development (TOD) จะช่วยแก้ปัญหาเมือง และมีประโยชน์ต่อชุมชน ดังนี้ ภาครัฐจะมีแนวทางในการบริหารจัดการเมืองที่ชัดเจน และเป็นรูปธรรม การเปลี่ยนพฤติกรรมการเดินทางจากรถยนต์ส่วนตัวมาเป็นขนส่งสาธารณะ จะช่วยลดการก่อให้เกิดมลพิษด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งสาธารณะ รวมถึงการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเดินเท้า หรือการปั่นจักรยาน ภายในบริเวณโดยรอบของการขนส่งสาธารณะเพื่อลดการเดินทางโดยใช้เครื่องยนต์ และส่งผลดีต่อสุขภาพ นอกจากนี้ ทางด้านเศรษฐกิจท้องถิ่นก็จะมีการพัฒนาให้ลงตัวกับทุก Life Style การใช้ชีวิต ทั้งย่านพักอาศัย ย่านการค้า ย่านธุรกิจ และพื้นที่สาธารณะ มีระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการครบที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ลดการใช้พลังงาน และเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน
  • thumb
    13
    24 ม.ค. 2566
    PM2.5 FOOTPRINT
    Fine particulate matter (PM2.5 or fine particulate matter with a diameter up to 2.5 microns) is one of the most important causes of premature deaths. The World Health Organization (WHO) estimated that outdoor air pollution caused 4.2 million premature deaths globally in 2016 due to PM2.5 exposure. The PM2.5 exposure could lead to cardiovascular and respiratory disease, and cancers (WHO, 2021). In Thailand, overall PM2.5 concentrations have been reduced continuously. Nonetheless, the annual average PM2.5 concentrations in Thailand have still exceeded the World Health Organization standards throughout the past 10 years. Transport sector is one of the major sources of PM2.5 emissions. Understanding the potential health impacts and costs of PM2.5 formation from different modes of transport will help raising the awareness of the public due to the realisation on the PM2.5 footprint of their actions. PM2.5 footprint is considered as the health impacts from PM2.5 formation throughout life cycle of products and organisations. PM2.5 footprint is quantified by multiplying emissions with characterisation factors. Afterwards, the health costs could be obtained by economic evaluation of the health impacts. The PM2.5 Footprint Calculator v1.01 was developed as a tool for enhancing environmentally sustainable passenger transport in Thailand. The PM2.5 Footprint Calculator v1.01 can determine primary and secondary PM2.5 emissions (PM2.5, NOx, NH3, and SO2) and assess health impacts and costs of passenger transport by road, water and rail in Thailand. The calculator consists of primary and secondary PM2.5 emission inventory (for passenger transport), city-specific characterisation factors, and health cost conversion factor. The details of emission inventory, impact characterisation and economic valuation can be seen the background report of PM2.5 Footprint Calculator v1.01 (Prapaspongsa et al., 2021). Features of the current version and future updates of the PM2.5 footprint calculator are also documented in the report. The PM2.5 Footprint Calculator v1.01 is provided in two versions including Web-Based PM2.5 Footprint Calculator and PM2.5 Footprint Calculator (Microsoft Excel Program). Users can directly apply the Web-Based PM2.5 Footprint Calculator via this PM2.5 footprint website or download the PM2.5 Footprint Calculator (Microsoft Excel Program) from this website for own calculations. The Web-Based PM2.5 Footprint Calculator computes the health impacts and costs from "well-to-wheel" including emissions from upstream fuel and electricity production; and exhaust emissions from fuel combustion. The PM2.5 Footprint Calculator (Microsoft Excel Program) can assess health impacts and costs both from "well-to-wheel" and "tank-to-wheel”. In the tank-to-wheel scope, the exhaust emissions from fuel combustion (indicated as "vehicle use" in this excel) are considered.
จำนวนทั้งหมด 38 รายการ